เหงือกปลาหมอ
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Acanthus ebracteatus Vahl.
ชื่อวงค์ : ACANTHACEAE
ชื่อสามัญ | Eng : Sea holly
ชื่อพื้นเมือง (ทั่วไป) : แก้มหมอ แก้มหมอเล จะเกร็ง นางเกร็ง อีเกร็ง เหงือกปลาหมอน้ำเงิน
ลักษณะวิสัย
ไม้พุ่มขนาดกลาง สูง 1-2 เมตร ลำต้นและใบมีหนาม ใบหนามแข็งมีขอบเว้าและมีหนามแหลม
ใบ
ใบออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน
ดอก
ดอกออกเป็นช่อตามยอด กลีบดอกสีขาวอมม่วง มี 4 กลีบแยกจากกัน
ผล
ผลเป็นฝักสีน้ำตาล มี 4 เมล็ด
นิเวศวิทยาที่เหมาะสม
-
การกระจาย
-
ประโยชน์
ใบ เป็นยาประคบแก้ไขข้ออักเสบ แก้ปวดต่างๆ รักษาโรคผิวหนัง ขับน้ำเหลืองเสีย ปรุงกับฟ้าทะลายโจร รมหัวริดสีดวงทวาร คั้นน้ำจากใบทาศีรษะ ช่วยบำรุงรักษารากผม แก้ประดง ต้น (ทั้งสดและแห้ง) แก้แผลพุพอง น้ำเหลืองเสีย เป็นฝีบ่อยๆ